support category ssd
FURY 3D SSD (KC-S44)

FURY 3D SSD - การสนับสนุน

วิดีโอ

How to Install a 2.5" SATA SSD in a Laptop 1:29

วิธีการติดตั้ง SATA SSD 2.5 นิ้วเข้ากับโน้ตบุ๊ก

How to Install a 2.5" SATA SSD in a Desktop PC 1:30

วิธีการติดตั้ง SATA SSD 2.5 นิ้วเข้ากับ PC เดสก์ทอป

คำถามที่พบบ่อย

นี่เป็นเรื่องปกติสำหรับอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบแฟลช ทั้งในกรณีของ SSD แบบภายในและไดรฟ์ USB แบบต่อพ่วง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะผู้ผลิตหน่วยความจำแฟลชและผู้ผลิตฮาร์ดไดรฟ์แบบจานหมุนมีวิธีคำนวณเมกะไบต์ที่แตกต่างกัน ผู้ผลิตฮาร์ดไดรฟ์คำนวณเมกะไบต์ (หรือ 1,000x1,000 ไบต์) เป็น 1,000KB ส่วนอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบแฟลชคำนวณแบบไบนารีหรือก็คือ 1,024KB

ตัวอย่าง: สำหรับอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบแฟลช 1TB Windows จะคำนวณความจุเท่ากับ 931.32GB (1,000,000,000,000÷1,024÷1,024÷1,024=931.32GB)

นอกจากนี้ Kingston ยังกันพื้นที่หน่วยความจำบางส่วนไว้ใช้ในการฟอร์แมตและวัตถุประสงค์อย่างอื่น เช่น เฟิร์มแวร์และ/หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวควบคุม ดังนั้นพื้นที่ส่วนนี้จึงไม่สามารถใช้จัดเก็บข้อมูลได้

FAQ: KDT-010611-GEN-06

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

วิธีที่ง่ายที่สุดในการทำให้ SSD ตัวใหม่กลายเป็นบู๊ตไดรฟ์ก็คือทำให้ SSD นั้นเป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเพียงตัวเดียวในระหว่างการติดตั้ง
แต่หากทำแบบนั้นไม่ได้หรือหากคุณเคยโคลนข้อมูลเก่าไปยังไดรฟ์นั้นมาก่อน ยืนยันว่าไดรฟ์ใหม่ปรากฏเป็นอุปกรณ์บู๊ตใน BIOS ของระบบ จากนั้นเลือกไดรฟ์นั้นระหว่างการบู๊ตเครื่อง

FAQ: KSD-012010-001-03

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

กล่องดิสก์แบบต่อพ่วงมีอยู่มากมายในท้องตลาด ถึงแม้ว่า Kingston จะต้องการให้ผลิตภัณฑ์ใช้งานกับระบบทุกประเภท แต่บางครั้งผลิตภัณฑ์ของเราก็ใช้งานกับบางระบบไม่ได้ หากคุณประสบปัญหาในการใช้งานกล่อง SSD แบบต่อพ่วง คุณอาจจำเป็นต้องเปลี่ยนเป็นกล่องชนิดใหม่

FAQ: KSD-012010-001-18

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

อันดับแรก คุณควรตรวจสอบยืนยันก่อนว่าระบบมองเห็น SSD ใน BIOS โดยเข้าสู่ BIOS (ส่วนใหญ่ต้องใช้ปุ่ม Del, F2, F10 หรือ F12) จากนั้นไปที่เมนูการกำหนดค่าพื้นที่จัดเก็บข้อมูล และดูว่าไดรฟ์ปรากฎอยู่หรือไม่และระบุอย่างถูกต้องหรือไม่  หากไม่มีไดรฟ์ปรากฏอยู่ ให้ปิดเครื่อง ตรวจสอบการติดตั้งและการเชื่อมต่อไดรฟ์ ยืนยันว่าไดรฟ์ติดตั้งเข้าที่ดีแล้วและ/หรือเชื่อมต่ออย่างถูกต้อง

หากเจอไดรฟ์ใน BIOS คุณอาจจะต้องเริ่มการทำงานของไดรฟ์ภายในระบบปฏิบัติการ

สำหรับ Windows:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Windows OS
ขั้นตอนที่ 2: กดปุ่ม Windows + X แล้วเลือก Disk Management
ขั้นตอนที่ 3: หากเป็น SSD ใหม่ที่ยังไม่ได้เริ่มใช้งาน หน้าต่างป๊อปอัปจะปรากฏขึ้นมา พร้อมข้อความ "Initialize Disk"
ขั้นตอนที่ 4: เลือกระหว่าง
MBR (Master Boot Record): เหมาะกับไดรฟ์ที่มีความจุไม่ถึง 2TB และอุปกรณ์แบบเก่า
GPT (GUID Partition Table): แนะนำสำหรับอุปกรณ์สมัยใหม่และไดรฟ์ที่มีความจุมากกว่า 2TB
ขั้นตอนที่ 5: คลิก “OK” เพื่อเริ่มการทำงานของดิสก์
ขั้นตอนที่ 6: หลังจากเริ่มการทำงาน คุณจะเห็นว่า SSD ของคุณเป็น "Unallocated” ให้คลิกขวา แล้วเลือก New Simple Volume
ขั้นตอนที่ 7: ทำตามคำแนะนำบนหน้าจอเพื่อฟอร์แม็ตและกำหนดตัวอักษรระบุไดรฟ์ให้กับ SSD

สำหรับ Mac OS:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Mac OS
ขั้นตอนที่ 2: เปิด Disk Utility (โดยใช้ Spotlight ร่วมกับปุ่ม Cmd + Space จากนั้นพิมพ์ "Disk Utility")
ขั้นตอนที่ 3: เลือก SSD ของคุณจากแผงทางซ้ายมือ
ขั้นตอนที่ 4: คลิก Erase
ขั้นตอนที่ 5: ตั้งชื่อไดรฟ์ จากนั้นเลือกตัวเลือกต่อไปนี้ใต้ Format
APFS หากเป็น Mac รุ่นเก่าและ SSD
Mac OS Extended (Journaled) หากเป็นอุปกรณ์รุ่นเก่าหรือ HDD
ขั้นตอนที่ 6: คลิก Erase หลังจากนั้น SSD ก็จะพร้อมใช้งาน

สำหรับ Linux:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Linux
ขั้นตอนที่ 2: เปิดเทอร์มินัล
ขั้นตอนที่ 3: ป้อนคำสั่ง sudo fdisk -l เพื่อแสดงไดรฟ์ทั้งหมดที่เชื่อมต่ออยู่ มองหา SSD ของคุณจากขนาดของไดรฟ์ แล้วจดชื่อของไดรฟ์ไว้ เช่น /dev/sdb
ขั้นตอนที่ 4: เริ่มการทำงานของไดรฟ์โดยใช้คำสั่ง fdisk หรือ parted ต่อไปนี้คือคำแนะนำเบื้องต้นในการใช้คำสั่ง fdisk:
ป้อน sudo fdisk /dev/sdb (แทนที่ /dev/sdb ด้วยชื่อไดรฟ์ SSD ของคุณ)
กด g เพื่อสร้างตารางพาร์ติชัน GPT ใหม่
กด n เพื่อสร้างตารางพาร์ติชันใหม่ ทำตามคำแนะนำบนหน้าจอเพื่อระบุขนาดและประเภทไดรฟ์
กด w เพื่อเขียนการเปลี่ยนแปลง
ขั้นตอนที่ 5: กำหนดรูปแบบพาร์ติชันใหม่บน SSD (เช่น /dev/sdb1) คุณสามารถกำหนดรูปแบบเป็นระบบไฟล์ที่ต้องการดังต่อไปนี้:
สำหรับ ext4: sudo mkfs.ext4 /dev/sdb1
สำหรับ ext3: sudo mkfs.ext3 /dev/sdb1
สำหรับ FAT32: sudo mkfs.vfat /dev/sdb1
ขั้นตอนที่ 6: ติดตั้งใช้งาน SSD:
สร้างจุดติดตั้งใช้งาน: sudo mkdir /mnt/myssd
ติดตั้งใช้งาน SSD: sudo mount /dev/sdb1 /mnt/myssd
อย่าลืมแทนที่ /dev/sdb1 ด้วยชื่อพาร์ติชันของ SSD

FAQ: KSD-012010-001-15

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

เฟิร์มแวร์ SSD คือซอฟต์แวร์ที่อยู่ใน SSD และทำหน้าที่จัดการการทำงานของไดรฟ์ รวมทั้งสื่อสารกับระบบโฮสต์ จัดเก็บและเรียกค้นข้อมูล ปรับระดับความสึกหรอให้เสมอกัน และแก้ไขข้อผิดพลาด Kingston แนะนำให้อัปเดตเฟิร์มแวร์เป็นเวอร์ชันล่าสุดอยู่เสมอ

หาก SSD ของคุณต้องอัปเดตเป็นเฟิร์มแวร์ล่าสุด คุณจะได้รับการแจ้งเตือนตอนที่เปิดซอฟต์แวร์ SSD Manager ของ Kingston ดูได้จากที่นี่: www.kingston.com/ssdmanager

FAQ: KSD-012010-001-11

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

คลิกที่เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อแตกต่างของ SSD ทั้งสองชนิดนี้
https://www.kingston.com/blog/pc-performance/nvme-vs-sata

FAQ: KSD-012010-001-19

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

เมื่อคุณโคลนข้อมูลไปยังไดรฟ์ใหม่ที่มีความจุมากกว่าไดรฟ์ต้นทาง ซอฟต์แวร์อาจจะคำนวณขนาดพาร์ติชันไม่ถูกต้อง หากเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น สุดท้ายก็จะเหลือพื้นที่ที่ได้ไม่ได้นำมาใช้งาน หากต้องการหลีกเลี่ยงปัญหานี้ โปรดทำตามคำแนะนำการโคลนของเราที่นี่: www.kingston.com/cloning

FAQ: KSD-012010-001-04

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

เฟิร์มแวร์ SSD คือซอฟต์แวร์ที่อยู่ใน SSD และทำหน้าที่จัดการการทำงานของไดรฟ์ รวมทั้งสื่อสารกับระบบโฮสต์ จัดเก็บและเรียกค้นข้อมูล ปรับระดับความสึกหรอให้เสมอกัน และแก้ไขข้อผิดพลาด Kingston แนะนำให้อัปเดตเฟิร์มแวร์เป็นเวอร์ชันล่าสุดอยู่เสมอ

หาก SSD ของคุณต้องอัปเดตเป็นเฟิร์มแวร์ล่าสุด คุณจะได้รับการแจ้งเตือนตอนที่เปิดซอฟต์แวร์ SSD Manager ของ Kingston ดูได้จากที่นี่: www.kingston.com/ssdmanager

FAQ: KSD-012010-001-11

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

ปัจจุบัน Kingston ยังไม่มีการอัปเดตเฟิร์มแวร์ใน DOS

FAQ: KSD-012010-001-12

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

การอัปเดต SSD จะไม่ลบข้อมูลออกจากไดรฟ์ ยกเว้นมีการระบุไว้อย่างชัดเจน แต่ก่อนจะอัปเดตเฟิร์มแวร์ SSD แต่ละครั้ง Kingston แนะนำให้สำรองข้อมูลทั้งหมดในไดรฟ์นั้นก่อน แล้วค่อยทำการอัปเดตเฟิร์มแวร์

FAQ: KSD-012010-001-13

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

คุณสามารถอัปเดตเฟิร์มแวร์ของไดรฟ์ผ่านกล่อง USB ได้ แต่ Kingston ไม่แนะนำให้ทำเช่นนั้น ขั้นตอนการอัปเดตที่ถูกต้องจำเป็นต้องเชื่อมต่อ SSD เป้าหมายเข้ากับพอร์ตของระบบ (เช่น SATA หรือ NVMe) โดยตรง

FAQ: KSD-012010-001-14

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

เมื่อคุณโคลนข้อมูลไปยังไดรฟ์ใหม่ที่มีความจุมากกว่าไดรฟ์ต้นทาง ซอฟต์แวร์อาจจะคำนวณขนาดพาร์ติชันไม่ถูกต้อง หากเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น สุดท้ายก็จะเหลือพื้นที่ที่ได้ไม่ได้นำมาใช้งาน หากต้องการหลีกเลี่ยงปัญหานี้ โปรดทำตามคำแนะนำการโคลนของเราที่นี่: www.kingston.com/cloning

FAQ: KSD-012010-001-04

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

อันดับแรก คุณควรตรวจสอบยืนยันก่อนว่าระบบมองเห็น SSD ใน BIOS โดยเข้าสู่ BIOS (ส่วนใหญ่ต้องใช้ปุ่ม Del, F2, F10 หรือ F12) จากนั้นไปที่เมนูการกำหนดค่าพื้นที่จัดเก็บข้อมูล และดูว่าไดรฟ์ปรากฎอยู่หรือไม่และระบุอย่างถูกต้องหรือไม่  หากไม่มีไดรฟ์ปรากฏอยู่ ให้ปิดเครื่อง ตรวจสอบการติดตั้งและการเชื่อมต่อไดรฟ์ ยืนยันว่าไดรฟ์ติดตั้งเข้าที่ดีแล้วและ/หรือเชื่อมต่ออย่างถูกต้อง

หากเจอไดรฟ์ใน BIOS คุณอาจจะต้องเริ่มการทำงานของไดรฟ์ภายในระบบปฏิบัติการ

สำหรับ Windows:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Windows OS
ขั้นตอนที่ 2: กดปุ่ม Windows + X แล้วเลือก Disk Management
ขั้นตอนที่ 3: หากเป็น SSD ใหม่ที่ยังไม่ได้เริ่มใช้งาน หน้าต่างป๊อปอัปจะปรากฏขึ้นมา พร้อมข้อความ "Initialize Disk"
ขั้นตอนที่ 4: เลือกระหว่าง
MBR (Master Boot Record): เหมาะกับไดรฟ์ที่มีความจุไม่ถึง 2TB และอุปกรณ์แบบเก่า
GPT (GUID Partition Table): แนะนำสำหรับอุปกรณ์สมัยใหม่และไดรฟ์ที่มีความจุมากกว่า 2TB
ขั้นตอนที่ 5: คลิก “OK” เพื่อเริ่มการทำงานของดิสก์
ขั้นตอนที่ 6: หลังจากเริ่มการทำงาน คุณจะเห็นว่า SSD ของคุณเป็น "Unallocated” ให้คลิกขวา แล้วเลือก New Simple Volume
ขั้นตอนที่ 7: ทำตามคำแนะนำบนหน้าจอเพื่อฟอร์แม็ตและกำหนดตัวอักษรระบุไดรฟ์ให้กับ SSD

สำหรับ Mac OS:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Mac OS
ขั้นตอนที่ 2: เปิด Disk Utility (โดยใช้ Spotlight ร่วมกับปุ่ม Cmd + Space จากนั้นพิมพ์ "Disk Utility")
ขั้นตอนที่ 3: เลือก SSD ของคุณจากแผงทางซ้ายมือ
ขั้นตอนที่ 4: คลิก Erase
ขั้นตอนที่ 5: ตั้งชื่อไดรฟ์ จากนั้นเลือกตัวเลือกต่อไปนี้ใต้ Format
APFS หากเป็น Mac รุ่นเก่าและ SSD
Mac OS Extended (Journaled) หากเป็นอุปกรณ์รุ่นเก่าหรือ HDD
ขั้นตอนที่ 6: คลิก Erase หลังจากนั้น SSD ก็จะพร้อมใช้งาน

สำหรับ Linux:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Linux
ขั้นตอนที่ 2: เปิดเทอร์มินัล
ขั้นตอนที่ 3: ป้อนคำสั่ง sudo fdisk -l เพื่อแสดงไดรฟ์ทั้งหมดที่เชื่อมต่ออยู่ มองหา SSD ของคุณจากขนาดของไดรฟ์ แล้วจดชื่อของไดรฟ์ไว้ เช่น /dev/sdb
ขั้นตอนที่ 4: เริ่มการทำงานของไดรฟ์โดยใช้คำสั่ง fdisk หรือ parted ต่อไปนี้คือคำแนะนำเบื้องต้นในการใช้คำสั่ง fdisk:
ป้อน sudo fdisk /dev/sdb (แทนที่ /dev/sdb ด้วยชื่อไดรฟ์ SSD ของคุณ)
กด g เพื่อสร้างตารางพาร์ติชัน GPT ใหม่
กด n เพื่อสร้างตารางพาร์ติชันใหม่ ทำตามคำแนะนำบนหน้าจอเพื่อระบุขนาดและประเภทไดรฟ์
กด w เพื่อเขียนการเปลี่ยนแปลง
ขั้นตอนที่ 5: กำหนดรูปแบบพาร์ติชันใหม่บน SSD (เช่น /dev/sdb1) คุณสามารถกำหนดรูปแบบเป็นระบบไฟล์ที่ต้องการดังต่อไปนี้:
สำหรับ ext4: sudo mkfs.ext4 /dev/sdb1
สำหรับ ext3: sudo mkfs.ext3 /dev/sdb1
สำหรับ FAT32: sudo mkfs.vfat /dev/sdb1
ขั้นตอนที่ 6: ติดตั้งใช้งาน SSD:
สร้างจุดติดตั้งใช้งาน: sudo mkdir /mnt/myssd
ติดตั้งใช้งาน SSD: sudo mount /dev/sdb1 /mnt/myssd
อย่าลืมแทนที่ /dev/sdb1 ด้วยชื่อพาร์ติชันของ SSD

FAQ: KSD-012010-001-15

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

กล่องดิสก์แบบต่อพ่วงมีอยู่มากมายในท้องตลาด ถึงแม้ว่า Kingston จะต้องการให้ผลิตภัณฑ์ใช้งานกับระบบทุกประเภท แต่บางครั้งผลิตภัณฑ์ของเราก็ใช้งานกับบางระบบไม่ได้ หากคุณประสบปัญหาในการใช้งานกล่อง SSD แบบต่อพ่วง คุณอาจจำเป็นต้องเปลี่ยนเป็นกล่องชนิดใหม่

FAQ: KSD-012010-001-18

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

เมื่อคุณโคลนข้อมูลไปยังไดรฟ์ใหม่ที่มีความจุมากกว่าไดรฟ์ต้นทาง ซอฟต์แวร์อาจจะคำนวณขนาดพาร์ติชันไม่ถูกต้อง หากเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น สุดท้ายก็จะเหลือพื้นที่ที่ได้ไม่ได้นำมาใช้งาน หากต้องการหลีกเลี่ยงปัญหานี้ โปรดทำตามคำแนะนำการโคลนของเราที่นี่: www.kingston.com/cloning

FAQ: KSD-012010-001-04

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

วิธีที่ง่ายที่สุดในการทำให้ SSD ตัวใหม่กลายเป็นบู๊ตไดรฟ์ก็คือทำให้ SSD นั้นเป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเพียงตัวเดียวในระหว่างการติดตั้ง
แต่หากทำแบบนั้นไม่ได้หรือหากคุณเคยโคลนข้อมูลเก่าไปยังไดรฟ์นั้นมาก่อน ยืนยันว่าไดรฟ์ใหม่ปรากฏเป็นอุปกรณ์บู๊ตใน BIOS ของระบบ จากนั้นเลือกไดรฟ์นั้นระหว่างการบู๊ตเครื่อง

FAQ: KSD-012010-001-03

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

คุณสามารถอัปเดตเฟิร์มแวร์ของไดรฟ์ผ่านกล่อง USB ได้ แต่ Kingston ไม่แนะนำให้ทำเช่นนั้น ขั้นตอนการอัปเดตที่ถูกต้องจำเป็นต้องเชื่อมต่อ SSD เป้าหมายเข้ากับพอร์ตของระบบ (เช่น SATA หรือ NVMe) โดยตรง

FAQ: KSD-012010-001-14

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

การอัปเดต SSD จะไม่ลบข้อมูลออกจากไดรฟ์ ยกเว้นมีการระบุไว้อย่างชัดเจน แต่ก่อนจะอัปเดตเฟิร์มแวร์ SSD แต่ละครั้ง Kingston แนะนำให้สำรองข้อมูลทั้งหมดในไดรฟ์นั้นก่อน แล้วค่อยทำการอัปเดตเฟิร์มแวร์

FAQ: KSD-012010-001-13

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

ปัจจุบัน Kingston ยังไม่มีการอัปเดตเฟิร์มแวร์ใน DOS

FAQ: KSD-012010-001-12

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

เฟิร์มแวร์ SSD คือซอฟต์แวร์ที่อยู่ใน SSD และทำหน้าที่จัดการการทำงานของไดรฟ์ รวมทั้งสื่อสารกับระบบโฮสต์ จัดเก็บและเรียกค้นข้อมูล ปรับระดับความสึกหรอให้เสมอกัน และแก้ไขข้อผิดพลาด Kingston แนะนำให้อัปเดตเฟิร์มแวร์เป็นเวอร์ชันล่าสุดอยู่เสมอ

หาก SSD ของคุณต้องอัปเดตเป็นเฟิร์มแวร์ล่าสุด คุณจะได้รับการแจ้งเตือนตอนที่เปิดซอฟต์แวร์ SSD Manager ของ Kingston ดูได้จากที่นี่: www.kingston.com/ssdmanager

FAQ: KSD-012010-001-11

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

กล่องดิสก์แบบต่อพ่วงมีอยู่มากมายในท้องตลาด ถึงแม้ว่า Kingston จะต้องการให้ผลิตภัณฑ์ใช้งานกับระบบทุกประเภท แต่บางครั้งผลิตภัณฑ์ของเราก็ใช้งานกับบางระบบไม่ได้ หากคุณประสบปัญหาในการใช้งานกล่อง SSD แบบต่อพ่วง คุณอาจจำเป็นต้องเปลี่ยนเป็นกล่องชนิดใหม่

FAQ: KSD-012010-001-18

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

อันดับแรก คุณควรตรวจสอบยืนยันก่อนว่าระบบมองเห็น SSD ใน BIOS โดยเข้าสู่ BIOS (ส่วนใหญ่ต้องใช้ปุ่ม Del, F2, F10 หรือ F12) จากนั้นไปที่เมนูการกำหนดค่าพื้นที่จัดเก็บข้อมูล และดูว่าไดรฟ์ปรากฎอยู่หรือไม่และระบุอย่างถูกต้องหรือไม่  หากไม่มีไดรฟ์ปรากฏอยู่ ให้ปิดเครื่อง ตรวจสอบการติดตั้งและการเชื่อมต่อไดรฟ์ ยืนยันว่าไดรฟ์ติดตั้งเข้าที่ดีแล้วและ/หรือเชื่อมต่ออย่างถูกต้อง

หากเจอไดรฟ์ใน BIOS คุณอาจจะต้องเริ่มการทำงานของไดรฟ์ภายในระบบปฏิบัติการ

สำหรับ Windows:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Windows OS
ขั้นตอนที่ 2: กดปุ่ม Windows + X แล้วเลือก Disk Management
ขั้นตอนที่ 3: หากเป็น SSD ใหม่ที่ยังไม่ได้เริ่มใช้งาน หน้าต่างป๊อปอัปจะปรากฏขึ้นมา พร้อมข้อความ "Initialize Disk"
ขั้นตอนที่ 4: เลือกระหว่าง
MBR (Master Boot Record): เหมาะกับไดรฟ์ที่มีความจุไม่ถึง 2TB และอุปกรณ์แบบเก่า
GPT (GUID Partition Table): แนะนำสำหรับอุปกรณ์สมัยใหม่และไดรฟ์ที่มีความจุมากกว่า 2TB
ขั้นตอนที่ 5: คลิก “OK” เพื่อเริ่มการทำงานของดิสก์
ขั้นตอนที่ 6: หลังจากเริ่มการทำงาน คุณจะเห็นว่า SSD ของคุณเป็น "Unallocated” ให้คลิกขวา แล้วเลือก New Simple Volume
ขั้นตอนที่ 7: ทำตามคำแนะนำบนหน้าจอเพื่อฟอร์แม็ตและกำหนดตัวอักษรระบุไดรฟ์ให้กับ SSD

สำหรับ Mac OS:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Mac OS
ขั้นตอนที่ 2: เปิด Disk Utility (โดยใช้ Spotlight ร่วมกับปุ่ม Cmd + Space จากนั้นพิมพ์ "Disk Utility")
ขั้นตอนที่ 3: เลือก SSD ของคุณจากแผงทางซ้ายมือ
ขั้นตอนที่ 4: คลิก Erase
ขั้นตอนที่ 5: ตั้งชื่อไดรฟ์ จากนั้นเลือกตัวเลือกต่อไปนี้ใต้ Format
APFS หากเป็น Mac รุ่นเก่าและ SSD
Mac OS Extended (Journaled) หากเป็นอุปกรณ์รุ่นเก่าหรือ HDD
ขั้นตอนที่ 6: คลิก Erase หลังจากนั้น SSD ก็จะพร้อมใช้งาน

สำหรับ Linux:
ขั้นตอนที่ 1: ยืนยันว่าเชื่อมต่อไดรฟ์ถูกต้องแล้ว จากนั้นเปิดเครื่องและบู๊ตเครื่องเข้าสู่ Linux
ขั้นตอนที่ 2: เปิดเทอร์มินัล
ขั้นตอนที่ 3: ป้อนคำสั่ง sudo fdisk -l เพื่อแสดงไดรฟ์ทั้งหมดที่เชื่อมต่ออยู่ มองหา SSD ของคุณจากขนาดของไดรฟ์ แล้วจดชื่อของไดรฟ์ไว้ เช่น /dev/sdb
ขั้นตอนที่ 4: เริ่มการทำงานของไดรฟ์โดยใช้คำสั่ง fdisk หรือ parted ต่อไปนี้คือคำแนะนำเบื้องต้นในการใช้คำสั่ง fdisk:
ป้อน sudo fdisk /dev/sdb (แทนที่ /dev/sdb ด้วยชื่อไดรฟ์ SSD ของคุณ)
กด g เพื่อสร้างตารางพาร์ติชัน GPT ใหม่
กด n เพื่อสร้างตารางพาร์ติชันใหม่ ทำตามคำแนะนำบนหน้าจอเพื่อระบุขนาดและประเภทไดรฟ์
กด w เพื่อเขียนการเปลี่ยนแปลง
ขั้นตอนที่ 5: กำหนดรูปแบบพาร์ติชันใหม่บน SSD (เช่น /dev/sdb1) คุณสามารถกำหนดรูปแบบเป็นระบบไฟล์ที่ต้องการดังต่อไปนี้:
สำหรับ ext4: sudo mkfs.ext4 /dev/sdb1
สำหรับ ext3: sudo mkfs.ext3 /dev/sdb1
สำหรับ FAT32: sudo mkfs.vfat /dev/sdb1
ขั้นตอนที่ 6: ติดตั้งใช้งาน SSD:
สร้างจุดติดตั้งใช้งาน: sudo mkdir /mnt/myssd
ติดตั้งใช้งาน SSD: sudo mount /dev/sdb1 /mnt/myssd
อย่าลืมแทนที่ /dev/sdb1 ด้วยชื่อพาร์ติชันของ SSD

FAQ: KSD-012010-001-15

บริการนี้เป็นประโยชน์หรือไม่

Still Need Assistance?

ติดต่อฝ่ายบริการทางเทคนิค

Monday-Friday 6 a.m.-6 p.m. PT

+1 (800)435-0640